มารู้จักโรคสมองเมาแผ่นดินไหว โรคสมองหลอนแผ่นดินไหวกันเถอะ

โรคสมองเมาแผ่นดินไหว (Earthquake Drunk)

ㆍ กลุ่มอาการวิงเวียนหลังแผ่นดินไหว หรือ Post-Earthquake Dizziness Syndrome หรืo PEDS)

ㆍ สาเหตุ : เกิดจากการรบกวนในระบบการทรงตัวในหูชั้นในหลังแผ่นดินไหว

ㆍ อาการ : วิงเวียน, คลื่นไส้, หัวหมุน, รู้สึกเหมือนยังเคลื่อนไหว อาจรุนแรงขึ้นในคนที่ไวต่อการเมารถหรืออยู่ในอาคารสูง ระหว่างเกิดแผ่นดินไหว

ㆍ อาการหายไปเองภายในไม่กี่นาทีหรือชั่วโมง หรือบางคนอาจเป็นนานหลายสัปดาห์หรือเดือน

โรคสมองหลอนแผ่นดินไหว (Earthquake Illusion)

ㆍ สาเหตุ: เกิดจากความเครียด, ความวิตกกังวล, หรือ การตอบสนองทางจิตหลังเหตุการณ์

ㆍอาการ: วิตกกังวล, กลัวแผ่นดินไหว, นอนไม่หลับ, หรือเครียดเกินไป, ความรู้สึกว่ามีแผ่นดินไหวแม้จะไม่ได้เกิดขึ้นจริง

ㆍบางคนนำไปสู่โรคเครียดหลังเหตุสะเทือนใจ (PTSD) เช่น การย้อนนึกถึงเหตุการณ์ ความตื่นตัวเกินเหตุ หรือการนอนหลับยาก กลัวการอยู่ในตึก หรือ ขึ้นรถไฟฟ้า

จัดการอาการอย่างไร?

ㆍ ทางกาย : ใช้มีจากการเมารถ เช่น มองไปที่จุดโกล, นอนลง, จินน้ำ

ㆍ ทางจิตใจ : พูดคุยเกี่ยวกับประสบการณ์กับผู้อื่น หรือหลีกเลี่ยงการดูสื่อเกี่ยวกับเหตุการณ์มากเกินไป

ข้อแนะนำ : หากอาการยังไม่ดีขึ้น หรือรุนแรง ควรปรึกษาแพทย์เพื่อรับการดูแลและคำแนะนำเพิ่มเพิ่มเติม

ข้อมูลจาก : เพจ สาระสมองกับ อจ. หมอสุรัตน์
สำนักงานเขตสุขภาพที่ 1
203/4 ม.3 ต.ริมใต้ อ.แม่ริม จ.เชียงใหม่
โทร. 053-890240

สำนักงานเขตสุขภาพที่ 1 ภาพ/ข้อมูล

เรื่องที่เกี่ยวข้อง
แชร์วิธีที่จะทำให้ทุกคนปลอดภัย เมื่ออยู่บนอาคารสูงในขณะเกิดแผ่นดินไหว และวิธีการรับมือภายหลังเกิดเหตุการณ์ขึ้น
28 มีนาคม 2568 เวลา 13.20 น เกิดแผ่นดินไหว จุดศูนย์กลางอยู่บริเวณประเทศเมียนมาร์ ขนาด 8.2 ลึก 10 กม.
วช. รำลึก “1 ทศวรรษ แผ่นดินไหวแม่ลาว” สะท้อนผ่านนิทรรศการบอกเล่าเรื่องราว “สิบปีผ่านไป แผ่นดินไหว เราไหวอยู่” ที่จังหวัดเชียงราย
ผู้ว่าฯเชียงราย ลงพื้นที่ตรวจสอบอาคาร รพ.เชียงราย เสียหายแต่ไม่กระทบโครงสร้าง หลังแผ่นดินไหวรัฐฉาน6.4
แผ่นดินไหวที่ประเทศเมียนมา ขนาด 6.4 แรงสั่นไหวรับรู้ได้ในจังหว​ัดเชียงราย​ พะเยา เชียงใหม่
เชียงรายโฟกัสดอทคอม  สังคมออนไลน์ของคนเชียงราย
นโยบายความเป็นส่วนตัว

เว็บไซต์นี้ใช้คุกกี้เพื่อให้เราสามารถมอบประสบการณ์การใช้งานที่ดีที่สุดแก่คุณได้ ข้อมูลคุกกี้จะถูกเก็บไว้ในเบราว์เซอร์ของคุณและทำหน้าที่ต่างๆ เช่น การจดจำคุณเมื่อคุณกลับมาที่เว็บไซต์ของเรา และช่วยให้ทีมงานของเราเข้าใจว่าส่วนใดของเว็บไซต์ที่คุณพบว่าน่าสนใจและมีประโยชน์มากที่สุด